ความรู้เกี่ยวกับสัตว์

ภาวะอัณฑะทองแดงในสุนัขและแมว

ภาวะอัณฑะทองแดงในสุนัขและแมว (Cryptorchidism)

ภาวะอัณฑะทองแดงคืออะไร ? ภาวะอัณฑะทองแดง หรือ Cryptorchidism คือ ความผิดปกติที่อัณฑะไม่เจริญเคลื่อนตัวลงมาในถุงอัณฑะ พบได้ทั้งในสุนัขและแมว ซึ่งอาจเป็นเพียงแค่ข้างเดียวหรือทั้งสองข้างก็ได้ โดยในสุนัขมักพบอัณฑะทองแดงข้างขวามากกว่าข้างซ้าย แต่ในแมวมีโอกาสเกิดได้ทั้งสองข้าง ซึ่งอัณฑะที่ไม่ลงถุงจะคงค้างอยู่บริเวณขาหนีบหรือในช่องท้อง หากอยู่บริเวณขาหนีบจะเห็นได้ชัด แต่บางกรณีอัณฑะค้างอยู่ในช่องท้อง ต้องให้แพทย์ใช้อัลตราซาวด์เพื่อทำการตรวจระบบตำแหน่งก่อนการผ่าตัด สาเหตุเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของพ่อหรือแม่ที่มียีนผิดปกติจึงส่งผลไปยังรุ่นลูกหลานได้ ซึ่งการเกิดโรคอัณฑะทองแดงนั้นไม่มีผลต่อฮอร์โมนเพศผู้ของน้องๆเพราะฉะนั้นจะยังคงแสดงพฤติกรรมทางเพศได้ตามปกติ โดยปกติอัณฑะมี 2 ข้อง ข้างที่ลงถุงสามารถสร้างอสุจิและผสมพันธุ์ส่งต่อพันธุกรรมที่ผิดปกติไปรุ่นลูกรุ่นหลานได้…

โรคในช่องปากสุนัข

โรคฟันในสุนัข

ปัญหาสุขภาพช่องปากในสุนัขหนึ่งในปัญหาที่พบได้บ่อยทางคลินิก นอกเหนือจากฟันแตก/ฟันหัก อีกสาเหตุก็มา จากเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในคราบพลัค (หรือคราบ จุลินทรีย์ หรือไบโอฟิล์ม) ที่มักเกาะอยู่ตามบริเวณผิวฟันหรือซอกฟัน ทำให้เกิดโรคช่องปากอักเสบ หรือที่เรียกว่าโรคปริทันต์ (periodontal disease) ที่เกิดการสะสมของราบพลัคและหินปูน เกิดจากการสะสมของกลุ่มแบคทีเรียที่เจริญเติบโตอยู่บนผิวฟัน บริเวณร่องเหงือก และใต้เหงือก ก่อให้เกิดการอักเสบของเหงือกและเนื้อเยื่อ รอบฟัน ทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา เช่น…

รักษาโรคหัวใจในแมว

โรคหัวใจแมว (Heart Disease in Cat)

โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวมากกว่าปกติ (Hypertrophic cardiomyopathy ; HCM) ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจในน้องแมวที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวมากกว่าปกติ เรียกว่า Hypertrophic cardiomyopathy (HCM) คือ ทำให้เกิดความผิดปกติไปทั้งโครงสร้างและการทำงานของหัวใจ ทำให้ผนังหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัว โดยไม่พบการขยายตัวของห้องหัวใจ แมวที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวหลายตัวมีภาวะความผิดปกติของโรคหัวใจนี้แต่ไม่แสดงอาการ มักไม่มีอาการที่เฉพาะสำหรับบ่งบอกว่าเป็นโรคหัวใจ มีเพียงอาการทางคลินิกที่พบได้ทั่วไป เช่น ซึม…

โรคกระต่าย ฟันกระต่าย ฝีรากฟัน

ฝีรากฟันกระต่าย โรคกระต่ายฟันยาว

ภาวะฟันยาวในกระต่าย เป็นภาวะที่สามารถพบได้มากในกระต่าย ซึ่งสัตวแพทย์สามารถรักษาโดยการกรอฟัน เป็นวิธีการที่ไม่เจ็บปวดและไม่เป็นอันตรายต่อกระต่าย ทั้งยังส่งผลให้กระต่ายทานอาหารได้ดียิ่งขึ้น (เปรียบเทียบกับก่อนการตัดหรือกรอฟัน)

ฝังไมโครชิพสัตว์เลี้ยง แมว สุนัข นก เต่า

ฝังไมโครชิพแมว สุนัข นก เต่า สัตว์เลี้ยงอื่นๆ

การฝังไมโครชิพในสัตว์เลี้ยง (Pet Microchipping) กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆในปัจจุบัน เนื่องจากมีข้อดีหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยืนยันตัวตนของสัตว์เลี้ยงของตนเอง

ชูการ์กินอะไรได้บ้าง?

ชูก้ากินอะไรได้บ้าง?

ชูก้าไกลเดอร์ในธรรมชาติจะกินกินน้ำเลี้ยงต้นไม้ ยางไม้ ของต้นยูคาลิปตัส (Eucalyptus) และต้นอะคาเซีย (Acacia) และกินพวกเนกตาร์ของดอกยูคาลิปตัส และแอปเปิ้ลต่างๆ ซึ่งจะมีคาร์โบไฮเดรตสูง

สุนัขไถก้น เกิดจากอะไร

สุนัขไถก้น เกิดจากอะไร ?

หลายๆครั้งเรามักสังเกตเห็นว่าสุนัขชอบเอาก้นไถหรือถูไปตามพื้น อาการนี้มีสาเหตุคือ การระคายเคือง เจ็บ ไม่สบายตัวที่บริเวณก้น ซึ่งพฤติกรรมนี้สามารถใช้เป็นสัญญาณบอกความผิดปกติบางอย่างได้ด้วย

ข้อมูลทางกายภาพของกระต่าย

14 ข้อมูลกระต่าย เกี่ยวกับด้านกายภาพ โดย หมอมิงค์

ข้อมูลกระต่าย 14 ข้อ ด้านกายภาพ โดย สพ.ญ. ภาวิดา วิภูสันติ (หมอมิงค์) โรงพยาบาลสัตว์ดารินรักษ์

End of content

End of content